วันพุธที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทินครั้งที่ 6

บันทึกอนุทิน
วัน/เดือน/ปี   19/กค/2556
ครั้งที่ 6
เวลาเข้าสอน 13.10  เวลาเรียน 13.10  เวลาเลิกเรียน 16.40

วันนี้อาจารย์สอนเรื่อง แนวทางการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
แนวทางการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยมีดังนี้ค่ะ
1. การจัดประสบการณ์ทางภาษาที่เน้นทักษะทางภาษา (Skill  Approch)
- ให้ด็กรู้จักส่วนย่อยๆของ
- การประสมคำ
-ความหมายของคำ
-นำคำประกอบเป็นประโยค
-การแจกลูกสะกดคำ  การเขียน
เช่น  กอ-อา-กา
        ขอ-อา-ขา
ซึ่งจากที่เราเรียนมานั้น
 * ไม่สอดคล้องกับธรรมชาติการใช้ภาษาของเด็ก
* ไม่สอดคล้องกับลักษณการเรียนรู้ของเด็ก

                                                       Kenneth  Goodman
-เสนอแนวทางการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
-มีความเชื่อมโยงระหว่างภาษากับความคิด
-แนวทางการสอนมีพัฒนามาจากการเรียนรู้ และ ธรรมชาติของเด็ก
 ธรรมชาติของเด็กปฐมวัย
-สนใจ อยากรู้อยากเห็นสิ่งต่างๆรอบตัว
-ช่างสงสัย  ช่างซักถาม
-มีความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
ชอบการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ
-เลียนแบบคนรอบตัว
2. การสอนภาษาแบบธรรมชาติ ( Whole  Language )
ทฤษฎีที่มีอิทธิพลต่อการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
Dewey/Piaget/ Vygotsky/ Haliday
-เด็กเรียนรู้ภาษาจากประสบการณ์และลงมือกระทำ
-เด็กเรียนรู้จากกิจกรรม การเคลื่อนไหวของตนเองและการใช้สัมผัสจับต้องกับสิ่ง่างๆแล้วสร้างความรู้นั้นมาด้วยตนเอง
-อิทธิพลของสังคมและบุคคลอื่นที่มีผลต่อการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
การสอนภาษาธรรมชาติ
-สอนแบบบูรณาการ/องค์รวม
-สอนในสิ่งที่เด็กสนใจและมีความหมายสำหรับเด็ก
-สอนสิ่งใกล้ตัวเด็กและอยู่ในชีวิตประจำวัน
-สอดแทรกการฝึกทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน ไปพร้อมกับการทำกิจกรรม
-ไม่เข้มงวดกับการท่อง สะกด
-ไม่บังคับให้เด็กเขียน
หลักการการสอนภาษาแบบธรรมชาติ (นฤมน  เนียมหอม 2540)
1. การจัดสภาพแวดล้อม
-ตัวหนังสือที่ปรากฎในห้องเรียนจะต้องมีเป้าหมายในการใช้จริงๆ
-หนังสือที่ใช้ จะต้องเป็นหนังสือที่ใช้ภาษาที่มีความหมายสมบรูณ์ในตัว
เด็กมีส่วนร่วมในการจัดสภาพแวดล้อม
2. การสื่อสารที่มีความหมาย
-เด็กสื่อสารโดยมีพื้นฐานจากประสบการณ์จริง
-เด็กอ่านและเขียนอย่างมีจุดมุ่งหมาย
-เด็กได้ใช้เวลาในการอ่านและเขียนตามโอกาส
3.การเป็นแบบอย่าง
-ครูเชื่อมั่นว่าเด็กมีความสามารถในการอ่านและการเขียน
-เด็กเป็นแบบอย่างที่ดีให้เด็กเห็นว่าการอ่านเป็นเรื่องสนุก
4.การตั้งความคาดหวัง
-ครูเชื่อมั่นว่าเด็กมีความสามารถในการอ่านและการเขียน
-เด็กสามารถอ่าน เขียนได้ดีและถูกต้องยิ่งขึ้น
5.การคาดคะแน
-เด็กมีโอกาสที่ทดลองกับภาษา
-เด็กได้คาดเดา หรือ คาดคะแนคำที่จะอ่าน
-ไม่คาดหวังให้เด็กอ่านและเขียนได้เหมอนผู้ใหญ่
6. การใช้ข้อมูลย้อนกลับ
-ตอบสนองความพยายามในการใช้ภาษาของเด็ก
- ยอมรับการอ่านและการเขียนของเด็ก
- ตอบสนองเด็กให้เหมาะสมกับสถานการณ์
7. การยอมรับนับถือ
-เด็กมีความแตกต่างระหว่างบุคคล
-เด็กได้เลือกกิจกรรมที่จะเรียนรู้ด้วยตนเอง
-ในช่วงเวลาเดียวกันเด็กไม่จำเป็นต้องทำกิจกรรมอย่างเดียวกัน
-ไม่ทำกิจกรรมตามลำดับขั้นตอน
8. การสร้างความรู้สึกเชื่อมั่น
-ให้เด็กรู้จักปลอดภัยที่ใช้ภาษา
-ครูจต้องทำให้เด็กไม่กลัวที่จำขอความช่วยเหลือ
-ไม่ตราหน้าเด็กว่าไม่มีความสามารถ
-เด็กมีความเชื่อมันว่าตนมีความสามารถ

ผู้ถ่ายทอดความรู้-----> ผู้อำนวยการ----->ผู้ร่วมทางการเรียนรู้ไปพร้อมกับเด็ก

บทบาทของครู
-ครูไม่ควรคาดหวังกับเด็กเพราะแต่ละคนมีความแตกต่างกัน
-ใช้ประสบการณ์ตรงในการสนับสนุนการอ่าน  การเขียน ให้กับเด็ก
-ครูควรยอมรับกับความไม่ถูกต้องของเด็ก เด็กอาจจะพูดผิด เขียนผิด ครูควรค่อยๆสอน
ไม่ควรตำหนิเด็ก
-ครูสร้างความสนใจในคำและสิ่งพิมพ์

การนำไปใช้  ทำให้เรารู้และเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของเด็กปฐมวัยว่าเด็กปฐมวัยมีความอยากรู้อยากเห็น อยากถาม ขี้สงสัย ครูจึงต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเด็กและมีบทบาทในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กให้เหมาะสมกับวัย

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น